๑. ขั้นตอนการดำเนินการ หลักเกณฑ์เงื่อนไขและเอกสารที่ใช้ประกอบการขออยู่ต่อในราชอาณาจักรแต่ละประเภท
- อยู่ปฏิบัติงานในบริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วน
- อยู่ปฏิบัติงาน เกี่ยวกับการลงทุนที่ได้รับความเห็นชอบจาก กระทรวง ทบวง กรมที่เกี่ยวข้อง
- อยู่ปฏิบัติงาน ในส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ
- เพื่อการท่องเที่ยว
- เพื่อการลงทุน
- เพื่อเป็นครู หรืออาจารย์หรือ ผู้เชี่ยวชาญในสถานศึกษาของรัฐ
- เพื่อเป็นครู หรืออาจารย์หรือ ผู้เชี่ยวชาญในสถานศึกษาของเอกชน
- เพื่อศึกษาในสถานศึกษาของรัฐ
- เพื่อกรณีผู้ลงทุนไม่น้อยกว่า 3 ล้านบาท
- เพื่อฝึกสอน หรือค้นคว้าวิจัยใน สถาบันอุดมศึกษาหรือสถาบันวิจัย
- กรณีเป็นครอบครัวของคนต่างด้าวที่ ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการ ชั่วคราวเพื่อศึกษาในสถานศึกษา
- เพื่อปฏิบัติหน้าที่สื่อมวลชน
- เพื่อศึกษาพระพุทธศาสนา หรือ ปฏิบัติศาสนกิจ
- เพื่อเผยแพร่ศาสนา
- เพื่อเป็นช่างฝีมือ หรือเป็น ผู้เชี่ยวชาญสาขาวิชาชีพต่าง ๆ เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้ กับคนไทย
- เพื่อติดตั้ง หรือซ่อมแซม เครื่องจักร อากาศยาน หรือเรือเดินทะเล
- กรณีเป็นนักแสดง นักร้อง นักดนตรี ประจำโรงแรม หรือประจำบริษัทที่ประกอบ ธุรกิจบันเทิงในประเทศไทย
- กรณีเป็นครอบครัวของผู้มีสัญชาติ ไทย
- กรณีเป็นครอบครัวของผู้มีถิ่นที่อยู่ใน ราชอาณาจักร
- กรณีเป็นครอบครัวของคนต่างด้าวที่ ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการ ชั่วคราว
- อยู่ปฏิบัติงาน ในองค์การกุศลสาธารณะ องค์การเอกชน ต่างประเทศ มูลนิธิ สมาคม หอการค้า ต่างประเทศ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย หรือสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
- เพื่อเยี่ยมญาติหรือกลับภูมิลำเนา เดิมของผู้เคยมีสัญชาติไทย หรือของผู้ที่มี บิดาหรือมารดาเป็นบุคคลสัญชาติไทยหรือ เคยมีสัญชาติไทย
- กรณีใช้ชีวิตในบั้นปลาย
- กรณีเพื่อเยี่ยมคู่สมรสหรือเยี่ยมบุตร ซึ่งมีสัญชาติไทย
- กรณีเพื่อรับการรักษาพยาบาล หรือ การพักฟื้น หรือเพื่อดูแลผู้ป่วย
- กรณีเพื่อการดำเนินคดีหรือดำเนิน กระบวนพิจารณาอันเกี่ยวกับคดี
- กรณีปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจให้แก่ ส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือ หน่วยงานอื่นของรัฐ หรือสถานทูต หรือ สถานกงสุล หรือองค์การระหว่างประเทศ
- กรณีมีเหตุจำเป็นโดยมีสถานทูต หรือ สถานกงสุล ให้การรับรองและร้องขอ
- กรณีเพื่อพิสูจน์สัญชาติ
- กรณีเป็นนักแสดง นักร้อง นักดนตรี ผู้ควบคุมการแสดง ตลอดจนผู้มีหน้าที่ เกี่ยวข้องกับการแสดงเพื่อการบันเทิง หรือ มหรสพ โดยมาเปิดการแสดงเป็นครั้งคราว
- กรณีเป็นผู้ควบคุมพาหนะและ คนประจำพาหนะที่เข้ามายังท่าสถานี หรือ ท้องที่ในราชอาณาจักรและยังไม่สามารถ เดินทางออกนอกราชอาณาจักรได้
- กรณี B.O.I. , การนิคมฯ , กรมเชื้อเพลิง รับรอง
- กรณีเข้ามาประจำสำนักงานผู้แทนของนิติบุคคลต่างประเทศในธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ สำนักงานภูมิภาคของบริษัทข้ามชาติ และสำนักงานสาขา
- กรณีปฏิบัติหน้าที่สื่อมวลชน โดยได้รับการอนุญาตจากทางราชการ
- กรณีติดตามครอบครัว
- กรณีเพื่อธุรกิจ/สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค ( ปีแรก/ปีถัดไป )
- กรณีเป็นบุคคลในคณะผู้แทนทางทูต
- กรณีเป็นพนักงานหรือลูกจ้างฝ่ายกงสุล
- กรณีเป็นบุคคลซึ่งรัฐบาลต่างประเทศโดยความเห็นชอบของรัฐบาลไทยให้เข้ามาปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจในราชอาณาจักร
- กรณีเป็นบุคคลซึ่งปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจในราชอาณาจักรตามความตกลงที่รัฐบาลไทยได้ทำไว้กับรัฐบาลต่างประเทศ
- กรณีเป็นหัวหน้าสำนักงาน หรือพนักงาน หรือผู้เชี่ยวชาญ หรือบุคคลอื่น ซึ่งไดรับแต่งตั้งหรือมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจในราชอาณาจักรไทย ตามความตกลงที่รัฐบาลไทย ได้ทำไว้กับองค์การ หรือทบวงการระหว่างประเทศ
- กรณีเป็นคู่สมรส หรือบุตรซึ่งอยู่ในความอุปการะและเป็นส่วนแห่งครัวเรือน
- กรณีเป็นคนรับใช้ส่วนตัว
๒.การขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา
- เพื่อทำงานในบริษัท, ห้างหุ้นส่วนจำกัด(รหัส B)
- เพื่อทำงานในมูลนิธิ (รหัส O)
- เพื่อดูแลบุตรซึ่งกำลังศึกษาในประเทศไทย (รหัส O)
- เพื่อศึกษา รหัส ED
- เพื่อการลงทุนไม่ต่ำกว่า 10 ล้านบาท รหัส B
- เพื่อปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจในครอบครัวของคนต่างด้าว ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในบริษัท หรือ หจก. รหัส O
- เพื่อปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจในครอบครัวของคนต่างด้าว ซึ่งปฏิบัติหน้าที่เป็นครู/อาจารย์ในราชอาณาจักร รหัส O
- เพื่อศึกษาธรรมะ และปฏิบัติธรรม (รหัส R)
- เพื่อใช้ชีวิตบั้นปลาย อายุ 50 ปี (รหัส O)
- เพื่อให้หรือรับความอุปการะจากบุคคลสัญชาติไทยหรือผู้มีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร (รหัส O)
- เพื่อเป็นผู้ฝึกสอนกีฬา (รหัส O)
๓.การสลักหลังแจ้งออกไปนอกราชอาณาจักรและกลับเข้ามาอีก
- เอกสารประกอบที่ต้องใช้
- ๑. แบบฟอร์ม ตม.๑๓
- ๒. หนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทาง
- ๓. ใบสำคัญถิ่นที่อยู่หรือใบแทนใบสำคัญถิ่นที่อยู่
- ๔. ใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวที่สมบูรณ์(ต่ออายุเรียบร้อย)
- ๕. รูปถ่ายครึ่งตัวหน้าตรง ไม่สวมหมวก ขนาด ๔x๖ เซนติเมตร ถ่ายไม่เกิน ๖ เดือน จำนวน ๑ รูป
- ๖. ค่าธรรมเนียม ๑,๙๐๐ บาท
- ระยะเวลาดำเนินการ ภายใน ๓๐ นาที
- หมายเหตุ กองกำกับการ ๑ (งานใบสำคัญถิ่นที่อยู่)
- กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง ๑
- ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา อาคารบี ชั้น ๒
- ๑๒๐ หมู่ ๓ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่
- กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐ โทร. ๐-๒๑๔๑-๗๘๖๙ โทรสาร ๐-๒๑๔๓-๘๒๒๖
๔.การแจ้งอยู่ในราชอาณาจักรเกิน ๙๐ วัน
คนต่างด้าวซึ่งได้รับอนุญาตให้อยู่ใน ราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวแล้ว ถ้าอยู่ในราชอาณาจักรเกิน ๙๐ วันคนต่างด้าวผู้นั้นมีหน้าที่ต้องรายงานตัวแจ้งที่พักอาศัยต่อพนักงานสำนักงาน ตรวจคนเข้าเมือง ทุก ๙๐ วัน
หากท้องที่ใดมีที่ทำการตรวจคนเข้าเมืองตั้งอยู่จะแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ที่ทำการแห่งนั้นก็ได้
ทั้งนี้ เป็นไปตาม มาตรา ๓๗(๕) แห่ง พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ. ๒๕๒๒
ดูรายละเอียด
๕.รายชื่อประเทศที่ได้รับการยกเว้นการตรวจลงตราเพื่อการท่องเที่ยว
ดูรายละเอียด
๖.การเปลี่ยนเล่มหนังสือเดินทางกรณีสูญหาย หมดอายุ และหมดหน้าตราประทับ
เอกสารประกอบ
1. แบบคำขอ
2. สำเนาหนังสือแจ้งความจากสถานีตำรวจ
3. สำเนาหนังสือเดินทางเล่มเก่าที่มีรูปถ่าย (ถ้ามี)
4. สำเนาหนังสือเดินทางเล่มใหม่
5. หนังสือจากสถานทูตถึงสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองขอความร่วมมือ
ให้สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองสำเนาตราเข้าในหนังสือเดินทางเล่มใหม่ให้กับคน ต่างด้าวนั้น
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ
1. ให้คนต่างด้าวพบเจ้าหน้าที่ ที่เคาน์เตอร์บริการงานเปลี่ยนเล่มหนังสือเดินทาง
กองกำกับการ 2 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1 เพื่อยื่นคำร้อง และกรอกข้อมูล รายละเอียด
เช่น ชื่อ สกุล เลขที่หนังสือเดินทาง วันเดือนปี ที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร และเที่ยวบิน
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบรายละเอียดของคำขอและตรวจสอบความถูกต้อง
ความสมบูรณ์ของหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางเล่มใหม่
และจะต้องมีใบแจ้งความร้องทุกข์
3. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบหลักฐานการเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร
4. เมื่อพบข้อมูลการเข้ามาในราชอาณาจักรโดยถูกต้องก็จะดำเนินการสำเนาตราขาเข้าให้กับคนต่างด้าวต่อไป
5. กรณีคนต่างด้าวมีการยื่นคำร้องขออยู่ต่อในราชอาณาจักรหรือมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร
ให้ไปพบเจ้าหน้าที่ยังแผนกที่เกี่ยวข้องกับการตรวจลง ตรา หรือ กองกำกับการ 1 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1
แล้วแต่กรณีเพื่อสำเนาตราอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเพื่อรอฟังผลการพิจารณา
ให้อยู่ต่อหรือรอฟังผลการพิจารณาคำขอเพื่อมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร.0-2141-7884
หมายเหตุ กรณีเคยมีการขออยู่ต่อในราชอาณาจักร สามารถติดต่อยื่นคำร้องที่ด่านตรวจคนเข้าเมืองที่ยื่นคำร้องขออยู่ต่อในราชอาณาจักรครั้งล่าสุด
1. แบบคำขอ
2. สำเนาหนังสือแจ้งความจากสถานีตำรวจ
3. สำเนาหนังสือเดินทางเล่มเก่าที่มีรูปถ่าย (ถ้ามี)
4. สำเนาหนังสือเดินทางเล่มใหม่
5. หนังสือจากสถานทูตถึงสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองขอความร่วมมือ
ให้สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองสำเนาตราเข้าในหนังสือเดินทางเล่มใหม่ให้กับคน ต่างด้าวนั้น
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ
1. ให้คนต่างด้าวพบเจ้าหน้าที่ ที่เคาน์เตอร์บริการงานเปลี่ยนเล่มหนังสือเดินทาง
กองกำกับการ 2 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1 เพื่อยื่นคำร้อง และกรอกข้อมูล รายละเอียด
เช่น ชื่อ สกุล เลขที่หนังสือเดินทาง วันเดือนปี ที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร และเที่ยวบิน
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบรายละเอียดของคำขอและตรวจสอบความถูกต้อง
ความสมบูรณ์ของหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางเล่มใหม่
และจะต้องมีใบแจ้งความร้องทุกข์
3. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบหลักฐานการเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร
4. เมื่อพบข้อมูลการเข้ามาในราชอาณาจักรโดยถูกต้องก็จะดำเนินการสำเนาตราขาเข้าให้กับคนต่างด้าวต่อไป
5. กรณีคนต่างด้าวมีการยื่นคำร้องขออยู่ต่อในราชอาณาจักรหรือมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร
ให้ไปพบเจ้าหน้าที่ยังแผนกที่เกี่ยวข้องกับการตรวจลง ตรา หรือ กองกำกับการ 1 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1
แล้วแต่กรณีเพื่อสำเนาตราอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเพื่อรอฟังผลการพิจารณา
ให้อยู่ต่อหรือรอฟังผลการพิจารณาคำขอเพื่อมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร.0-2141-7884
หมายเหตุ กรณีเคยมีการขออยู่ต่อในราชอาณาจักร สามารถติดต่อยื่นคำร้องที่ด่านตรวจคนเข้าเมืองที่ยื่นคำร้องขออยู่ต่อในราชอาณาจักรครั้งล่าสุด
๗.เวลาทำการของแต่ละหน่วย ตม.จว.ด่าน ตม. ต่างๆ และช่องทางอนุญาตของด่านพรมแดนมาเลเซีย พม่า ลาว และกัมพู
๘.ขั้นตอนการรายงานตัว การแจ้งอยู่เกิน ๙๐ วัน Re – entry permit และเอกสารที่ต้องใช้สำหรับแรงงานต่างด้าว
๙.การแจ้งพ้นหน้าที่ของคนต่างด้าว
เมื่อคนต่างด้าวได้รับอนุญาตให้ อยู่ในราชอาณาจักรแล้ว จะต้องปฏิบัติหน้าที่ หรืออยู่ตามเหตุผลที่ร้องขอ
ตามที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น หากมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่
(เปลี่ยนแปลงนิติบุคคลซึ่งเป็นนายจ้าง หรือ พ้นหน้าที่) หรือเปลี่ยนเหตุผลการขออยู่ต่อในราชอาณาจักรแตกต่าง
ไปจากที่ร้องขอการอนุญาตให้อยู่ต่อในราชอาณาจักรดังกล่าวจะสิ้นสุดลงทันที และจะต้องถูกดำเนินการตามกฎหมายต่อไป
ทั้งนี้รวมถึงครอบครัวผู้ใช้สิทธิติดตามด้วย
- รายการเอกสารประกอบการแจ้งยกเลิกวีซ่า
กรณีเปลี่ยนแปลงนิติบุคคลซึ่งเป็นนายจ้าง หรือพ้นหน้าที่
(เลิกจ้าง/ออกจากงาน) ณ กก.2 บก.ตม.1 มีดังนี้
1.จดหมาย ถึงสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง เพื่อแจ้งคนต่างด้าวพ้นหน้าที่
(โดยจะต้องระบุวันที่ออกจากงานให้ชัดเจน หากไม่ระบุวันที่ออกจากงาน
จะถือว่าออกจากงานตามวันที่ที่ออกจดหมาย)
ลงนามโดยกรรมการผู้มีอำนาจลงชื่อผูกพันบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนจำกัด
2. สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนบริษัท หรือการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจำกัด
ฉบับนายทะเบียนรับรองไม่เกิน 6 เดือน
3. สำเนาบัตรประชาชน หรือสำเนาหนังสือเดินทางของกรรมการ
ผู้มีอำนาจลงชื่อผูกพันบริษัท พร้อมลงชื่อกำกับรับรองสำเนาถูกต้อง
4. หนังสือเดินทางของคนต่างด้าวผู้พ้นหน้าที่
(เจ้าหน้าที่ต้องประทับตราพ้นหน้าที่ในเล่มหนังสือเดินทางดังกล่าว)
หมายเหตุ :
ทั้งนี้การแจ้งพ้นหน้าที่ (ยกเลิกวีซ่า)จะทำให้การอนุญาตอยู่ต่อในราชอาณาจักรสิ้นสุดลงทันที
จะต้องมาติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อแจ้งพ้นหน้าที่ในวันที่เลิกจ้าง
(วันสุดท้ายของการทำงาน) และกรุณาติดต่อแจ้งยกเลิกวีซ่ากับ
ด่นตรวจคนเข้าเมืองเดิม ที่ท่านได้เคยยื่นคำร้องขออยู่ต่อในราชอาณาจักรไว้
ตามที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น หากมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่
(เปลี่ยนแปลงนิติบุคคลซึ่งเป็นนายจ้าง หรือ พ้นหน้าที่) หรือเปลี่ยนเหตุผลการขออยู่ต่อในราชอาณาจักรแตกต่าง
ไปจากที่ร้องขอการอนุญาตให้อยู่ต่อในราชอาณาจักรดังกล่าวจะสิ้นสุดลงทันที และจะต้องถูกดำเนินการตามกฎหมายต่อไป
ทั้งนี้รวมถึงครอบครัวผู้ใช้สิทธิติดตามด้วย
- รายการเอกสารประกอบการแจ้งยกเลิกวีซ่า
กรณีเปลี่ยนแปลงนิติบุคคลซึ่งเป็นนายจ้าง หรือพ้นหน้าที่
(เลิกจ้าง/ออกจากงาน) ณ กก.2 บก.ตม.1 มีดังนี้
1.จดหมาย ถึงสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง เพื่อแจ้งคนต่างด้าวพ้นหน้าที่
(โดยจะต้องระบุวันที่ออกจากงานให้ชัดเจน หากไม่ระบุวันที่ออกจากงาน
จะถือว่าออกจากงานตามวันที่ที่ออกจดหมาย)
ลงนามโดยกรรมการผู้มีอำนาจลงชื่อผูกพันบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนจำกัด
2. สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนบริษัท หรือการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจำกัด
ฉบับนายทะเบียนรับรองไม่เกิน 6 เดือน
3. สำเนาบัตรประชาชน หรือสำเนาหนังสือเดินทางของกรรมการ
ผู้มีอำนาจลงชื่อผูกพันบริษัท พร้อมลงชื่อกำกับรับรองสำเนาถูกต้อง
4. หนังสือเดินทางของคนต่างด้าวผู้พ้นหน้าที่
(เจ้าหน้าที่ต้องประทับตราพ้นหน้าที่ในเล่มหนังสือเดินทางดังกล่าว)
หมายเหตุ :
ทั้งนี้การแจ้งพ้นหน้าที่ (ยกเลิกวีซ่า)จะทำให้การอนุญาตอยู่ต่อในราชอาณาจักรสิ้นสุดลงทันที
จะต้องมาติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อแจ้งพ้นหน้าที่ในวันที่เลิกจ้าง
(วันสุดท้ายของการทำงาน) และกรุณาติดต่อแจ้งยกเลิกวีซ่ากับ
ด่นตรวจคนเข้าเมืองเดิม ที่ท่านได้เคยยื่นคำร้องขออยู่ต่อในราชอาณาจักรไว้
๑๐.อัตราค่าปรับกรณีคนต่างด้าวอยู่เกินกำหนดที่ได้รับอนุญาต
บันทึกคณะกรรมการเปรียบเทียบตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. ๒๕๒๒ (ฉบับที่ ๖) พ.ศ.๒๕๔๙
เรื่องมอบอำนาจให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการเปรียบเทียบ
ให้ดำเนินการเปรียบเทียบปรับตามจำนวนวันที่คนต่างด้าวอยู่ในราชอาณาจักรโดยการอนุญาต
สิ้นสุดหรือถูกเพิกถอน วันละ ๕๐๐ บาท แต่เมื่อรวมกันแล้วไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท
เรื่องมอบอำนาจให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการเปรียบเทียบ
ให้ดำเนินการเปรียบเทียบปรับตามจำนวนวันที่คนต่างด้าวอยู่ในราชอาณาจักรโดยการอนุญาต
สิ้นสุดหรือถูกเพิกถอน วันละ ๕๐๐ บาท แต่เมื่อรวมกันแล้วไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท
๑๑.การขอมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน และการแปลงสัญชาติ
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขประกอบการพิจารณาอนุญาตให้คนต่างด้าวเข้ามามีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร
คำแนะนำ และรายละเอียดสำหรับการยื่นคำขอเพื่อมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร (ในโควต้าประจำปี )
เอกสารประกอบการขอมีถิ่นที่อยู่ฯ ประเภทเข้ามาเป็นผู้เชี่ยวชาญ (ธันวาคม ๒๕๕๒)
เอกสารประกอบการขอมีถิ่นที่อยู่ฯ ประเภทเข้ามาเพื่อการลงทุน (ธันวาคม ๒๕๕๒)
เอกสารประกอบการขอมีถิ่นที่อยู่ฯ ประเภทเข้ามาเพื่อมาทำงาน (ธันวาคม ๒๕๕๒)
เอกสารประกอบการขอมีถิ่นที่อยู่ฯ ประเภทเข้ามาเพื่อเหตุผลทางมนุษยธรรม (ธันวาคม ๒๕๕๒)
คำแนะนำ และรายละเอียดสำหรับการยื่นคำขอเพื่อมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร (ในโควต้าประจำปี )
เอกสารประกอบการขอมีถิ่นที่อยู่ฯ ประเภทเข้ามาเป็นผู้เชี่ยวชาญ (ธันวาคม ๒๕๕๒)
เอกสารประกอบการขอมีถิ่นที่อยู่ฯ ประเภทเข้ามาเพื่อการลงทุน (ธันวาคม ๒๕๕๒)
เอกสารประกอบการขอมีถิ่นที่อยู่ฯ ประเภทเข้ามาเพื่อมาทำงาน (ธันวาคม ๒๕๕๒)
เอกสารประกอบการขอมีถิ่นที่อยู่ฯ ประเภทเข้ามาเพื่อเหตุผลทางมนุษยธรรม (ธันวาคม ๒๕๕๒)
๑๒.เปลี่ยนวัตถุประสงค์ในการขออยู่ต่อ
๑๓.การแบ่งเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สตม. และ แต่ละแห่งให้บริการเกี่ยวกับงานใดบ้าง
๑๔.ขั้นตอนการดำเนินการขอทราบข้อมูลการเดินทางเข้า – ออกราชอาณาจักร ข้อมูลที่พักอาศัยของคนต่างด้าว
๑๕.ขั้นตอนการดำเนินการเพื่อขอตรวจสอบหรือติดต่อห้องกักซึ่งส่งกลับคนต่างด้าวมายัง กก.๓ บก.สส.สตม
นำข้อมูลมาจาก : สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง immigration.go.th
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น